บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2017

เมื่อโดนทวงหนี้บัตรทางโทรศัพท์

บ่ายวันหนึ่ง...เสียงโทรศัพท์ดังขึ้น “กริ๊งงงงงง...”  (รับสายแล้ว ได้ยินเสียงทางนั้นพูดขึ้นว่า) หมาทวงหนี้  : ขอเรียนสายคุณนกกระจอกเทศครับ นกกระจอกเทศ  : ครับ...ผมนกกระจอกเทศพูดสายอยู่ครับ หมาทวงหนี้  : ผมโทรมาจากสำนักงานหมาขี้เรื้อนครับ จะสอบถามเกี่ยวกับยอดหนี้ของธนาคาร กะ-ลุ๊ก-ปุ๊ก ไทย ไม่ทราบว่ามีการชำระเข้ามาบ้างหรือยังครับ? นกกระจอกเทศ  : ยังเลยครับ หมาทวงหนี้  : ยอดเงินคงค้างของคุณ มันหลายเดือนแล้วนะครับ ไม่ทราบว่าจะชำระได้เมื่อไหร่? นกกระจอกเทศ  : เมื่อมีตังค์ครับ...แต่...ตอนนี้ยังไม่มี หมาทวงหนี้  : แล้วเมื่อไหร่จะมีล่ะครับ? นกกระจอกเทศ  : เมื่อไหร่เหรอ?...อืม...มีเมื่อไหร่ ก็เมื่อนั้นแหละครับ หมาทวงหนี้  : คุณไม่มีความคิดที่จะชำระเข้ามาบ้างเลยหรือครับ? นกกระจอกเทศ  : ไอ้“ ความคิด ”น่ะ...ผมมีครับ แต่ไอ้ที่มันไม่มีน่ะ ก็คือ" กะตังค์ "ครับ...เข้าใจไหมครับ? หมาทวงหนี้  : แล้วคุณมีวิธีการที่จะหาเงินมาชำระให้ทางเราได้ยังไงบ้างครับ? นกกระจอกเทศ  : อืมมม!!!...ไม่รู้สิ...แล้วคุณมีวิธีการที่จะช่วยให้ผมหาเงินได้บ้างไหมล่ะครับ? หมาทวงหนี้  : แล้วตอนนี้ คุณไม่มีเงินติดตัวบ้างเลยเ

หมายศาลจะถุกส่งไปที่ไหน

รูปภาพ
หมายศาล" จะต้องถูกส่งไปยังที่อยู่ของผู้ที่ถูกฟ้อง(บ้าน/ภูมิลำเนา ของจำเลย)ณ ปัจจุบันเท่านั้น...จึงจะถูกต้องตามขั้นตอนของกฏหมาย ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของโจทก์(เจ้าหนี้) ก่อนที่จะทำการฟ้องลูกหนี้(จำเลย)ให้เป็นคดีความ โจทก์จะต้องทำการเช็คทะเบียนบ้านของลูกหนี้ให้ Update และถูกต้องตามความเป็นจริงเสียก่อน ว่าลูกหนี้ที่โจทก์จะทำการฟ้องผู้นั้น อยู่ที่ใดตามทะเบียนบ้านที่ถูกต้อง ณ ปัจจุบัน โดยการไปเช็คข้อมูลที่อยู่ของลูกหนี้ ที่"กองทะเบียนราษฎร์" สังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ให้ถูกต้องเสียก่อนที่จะส่งเรื่องฟ้อง...มิฉะนั้น อาจเข้าข่าย"ฟ้องผิดสถานที่"ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ หมายศาล จะมีลักษณะที่เป็นชุดกระดาษหนาเป็นปีกๆ (มีจำนวนกระดาษหลายๆแผ่น จึงทำให้ดูหนามากๆ) และการปิดหมายศาลดังกล่าว จะต้องกระทำโดยเจ้าหน้าที่ของศาล (แมสเสนเจอร์ศาล) เป็นผู้นำส่ง ไม่ใช่กระทำโดยฝ่ายโจทก์หรือฝ่ายเจ้าหนี้ เป็นผู้นำส่ง โดยเจ้าหน้าที่ของศาลผู้นำส่งหมาย จะนำเอาหมายศาลมาผูกเชือก แล้วทำการหาที่แขวนหรือที่ผูกห้อยไว้ที่บริเวณหน้าบ้านของจำเลย เช่นที่ประตูบ้าน หรือที่บริเวณประตูร

ปล่อยกู้หนี้นอกระบบมีหนาว

ปล่อยกู้หนี้นอกระบบมีหนาว เจอ พ.ร.บ.ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา อ้างอิงข้อมูลจาก www.thairath.co.th/content/836471 และ www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9600000004722 มีผลแล้ว! กม.“ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด” ชี้ เป็นความผิดอาญาแผ่นดินอันยอมความไม่ได้ เพิ่มโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เน้น เจ้าหน้าที่รัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำผิดจะมีโทษสูงขึ้น วันนี้ (15 ม.ค. 60) มีรายงานว่า ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ พระราชบัญญัติ ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2560 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2560 เป็นปีที่ 2 ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา 1  พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “ พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2560 ” มาตร